ตั้งให้เราเป็นเว็บแรกที่คุณเลือก
เก็บเราไว้เป็นเว็บโปรด
สมัครสมาชิก ได้มากกว่าที่คุณคิด
เข้าสู่ระบบ
บ้านหลวงปู่
คศช.
ข่าวสารล่าสุด
ประสบการณ์
โชว์วัตถุมงคล
สอบถาม
นานาสาระ
นครนาคราช
ร่วมประมูล
บูชาวัตถุมงคล
เพื่อน
กระทู้แนะนำ
บุ๊คมาร์ก
ไอเท็ม
เหรียญ
ภารกิจ
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
ดูบริการทั้งหมด
เว็บบอร์ด
BBS
บูชาวัตถุมงคลหลวงปู่ชื่น
ศรีสุทธรรมนาคราช
ร้านจอมพระ
ศูนย์พระเครื่องจอมพระ
ค้นหา
ค้นหา
HOT TAG:
พระศรีราม
ขุนแผนแสนตรีเวทย์
พระเจ้าชัยวรมัน
บอร์ดนี้
บทความ
เนื้อหา
สมาชิก
Baan Jompra
›
นานาสาระ
›
ตำนานพระเกจิอาจารย์แห่งแดนสยาม
»
หลวงปู่เต็ม จิณณาจาโร วัดนิมมานรดี (วัดบางแค) กรุงเทพ
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
ดู: 2351
ตอบกลับ: 2
หลวงปู่เต็ม จิณณาจาโร วัดนิมมานรดี (วัดบางแค) กรุงเทพ
[คัดลอกลิงก์]
Metha
Metha
ออฟไลน์
เครดิต
54553
ไปยังโพสต์
1
#
โพสต์ 2014-6-13 04:28
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
|
โพสต์ใหม่ขึ้นก่อน
|
โหมดอ่าน
หลวงปู่เต็ม จิณณาจาโร วัดนิมมานรดี (วัดบางแค) กรุงเทพ
ที่มา
http://www.itti-patihan.com/
บุ๊คมาร์ก
0
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Metha
Metha
ออฟไลน์
เครดิต
54553
2
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2014-6-13 04:28
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
"วัดนิมมานรดี" หรือชาวบ้านที่เรียกกันว่า "วัดบางแค" ตั้งอยู่เลขที่ 38 ถนนเพชรเกษม หมู่ที่ 15 แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ วัดแห่งนี้เป็นที่รู้จักกันอย่างดี จากนามของ
พระเกจิอาจารย์
ชื่อดัง คือ "
หลวงปู่เต็ม จิณณาจาโร
"
กล่าวถึงชื่อเสียงของ
หลวงปู่เต็ม
อาจไม่เป็นที่รู้จักกว้างขวางเทียบเท่าพระเกจิอาจารย์รูปอื่นในยุคเดียวกัน แต่สำหรับชาวบางแค หลวงปู่เต็มเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวบ้านในชุมชนพื้นที่เป็นอย่างยิ่ง
ท่านมีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาคม และเชี่ยวชาญในด้านวิปัสสนากัมมัฏฐานอย่างยิ่ง ที่สำคัญ ท่านเป็นหนึ่งในพระอาจารย์ถ่ายทอดวิชาอาคมและสอนกรรมฐานให้ "พระราชธรรมาภรณ์ หรือ หลวงพ่อเงิน จันทสุวัณโณ" วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม
อัตโนประวัติ เป็นชาวบางแค เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 31 สิงหาคม 2415 โยมบิดา-มารดา ชื่อ นายเซ้นและนางปุ้ย เต้กชุ้น ครอบครัวมีพี่น้องทั้งหมด 5 คน
ด้วยความเป็นพี่ชายคนโต ทำให้ต้องรับภาระดูแลครอบครัว พอย่างเข้าสู่วัยหนุ่ม ท่านต้องรับภาระดูแลปกครองน้องๆ หลังจากบิดามารดาถึงแก่กรรมลง ต่อมาเกิดความเบื่อหน่ายทางโลก จึงมุ่งหาทางธรรม เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดนิมมานรดี (วัดบางแค) ต.บางหว้า อ.ภาษีเจริญ เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2467 โดยมีพระพุทธพยากรณ์ วัดอัปสรสวรรค์ (วัดหมู) เป็นพระอุปัชฌาย์, พระอธิการจัน วัดใหม่ยายนุ้ย เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการหนู วัดนิมมานรดี เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา จิณณาจาโร
ภายหลังอุปสมบท ท่านได้มีศรัทธาออกธุดงค์หลายครั้ง ซึ่งทุกครั้งจะมีพระสงฆ์สมัครเป็นศิษย์ร่วมปฏิบัติธรรมครั้งละหลายรูป และท่านเคยธุดงค์ไปไกลถึงประเทศพม่า สั่งสมวิชาความรู้นำกลับมาสงเคราะห์พระเณรและชาวบ้านอย่างทั่วถึง โดยไม่เห็นแก่เหน็ด เหนื่อยหรือสิ่งตอบแทน
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Metha
Metha
ออฟไลน์
เครดิต
54553
3
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2014-6-13 04:29
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
พระเครื่อง
และ
วัตถุมงคล
ของท่าน ส่วนใหญ่เป็นเหรียญวัตถุมงคล อาทิ เหรียญรูปทรงใบสาเก รุ่นทำบุญอายุ (รุ่นสุดท้าย) สร้างปี 2505 ประมาณ 7,000 เหรียญ เป็นรูปเหมือนท่านนั่งเต็มองค์ ปลุกเสกเดี่ยวในโบสถ์ 9 วัน
ส่วนวัตถุมงคลที่ได้รับความนิยมอย่างสูง คือ "เหรียญเสมารุ่นแรก" สร้างประมาณปี 2498 ก่อนเข้าพรรษาปีนั้น คณะศิษย์ได้ปรารภกันว่าหลวงปู่อายุมากแล้ว อยากได้รูปท่านไว้เป็นที่ระลึก จึงจัดสร้างเหรียญเป็นรูปทรงใบเสมาขึ้นจำนวนหนึ่ง ถวายให้ท่านนั่งปรกบริกรรมปลุกเสกตลอดไตรมาส
เล่ากันว่า ในระยะแรกไม่ค่อยมีใครสนใจ แต่พอท่านเลิกสร้าง เพราะอายุมากขึ้น กลับกลายเป็นที่เสาะแสวงหาของบรรดาเซียนพระ
หลวงปู่เต็ม เป็นพระภิกษุอาวุโส มีคุณธรรมกอปรด้วยเมตตาธรรม ได้สงเคราะห์สนับสนุนให้พระสงฆ์ที่จำพรรษาอยู่ ณ วัดทั้งสองที่มีศรัทธาสนใจในวิชาปฏิบัติธรรมต่างๆให้ได้ผลทางปฏิบัติตามศรัทธา ตามพลังบารมีของแต่ละท่านแต่ละรูป จนบรรดาสานุศิษย์ของท่านเหล่านั้น สามารถออกไปประกอบสัมมาอาชีวะในหน้าที่การงานต่างๆ กันได้อย่างน่าภาคภูมิใจ
ต่อมาปี พ.ศ.2507 บรรดาศิษย์ได้จัดงานทำบุญอายุถวายท่าน ซึ่งเป็นที่น่าชื่นชมยินดี เพราะความสามัคคีของศิษย์และญาติ งานได้สำเร็จสมเจตนาของท่านทุกประการ แต่เหตุ การณ์ไม่คาดฝันพลันบังเกิดขึ้น วันนั้นตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม 2508 หลวงปู่เต็มได้มรณ ภาพอย่างสงบด้วยโรคชรา
สร้างความเศร้าสลดกับบรรดาสานุศิษย์เป็นอย่างยิ่ง
ปัจจุบันที่วัดนิมมานรดี ได้จัดทำรูปหล่อของหลวงปู่เต็ม ประดิษฐานอยู่เคียงคู่กับรูปหล่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) พระครูทิวากรคุณ (หลวงปู่แจ้ง) รวมทั้งรูปหล่ออดีตเจ้าอาวาสอย่าง พระครูวิทยานุโยค (หลวงพ่อพลบ) และหลวงพ่อพึ่ง วัดรางบัว พระอาจารย์ของท่าน เพื่อให้ผู้เลื่อมใสศรัทธาได้สักการะกราบไหว้
แม้ท่านจะมรณภาพไปนานแล้ว แต่นาม "หลวงปู่เต็ม" ยังอยู่ในความศรัทธาตราบจนปัจจุบัน
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
โหมดขั้นสูง
B
Color
Image
Link
Quote
Code
Smilies
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงชื่อเข้าใช้
|
ลงทะเบียน
รายละเอียดเครดิต
ตอบกระทู้
ข้ามไปยังโพสต์ล่าสุด
ตอบกระทู้
ขึ้นไปด้านบน
ไปที่หน้ารายการกระทู้
Share To Facebook
Share To Twitter
Share To Google+
Share To ...