บทสวดรัตนมาลา หรือ อิติปิโสรัตนมาลา
เป็นคาถา หรือร้อยกรองภาษาบาลี บรรยายคุณความดีของพระพุทธเจ้า
ความยิ่งใหญ่ของพระธรรมวินัย และความดีงามของพระสงฆ์
โดยนำอักขระแรกบทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ
หรือบทสวดอิติปิโสฯ มาแจกแจงเป็นคาถาเอกเทศนับรวมได้ทั้งหมด ๑๐๘ บท
โดยแบ่งออกเป็นบทสรรเสริญพุทธคุณจำนวน ๕๖ บท บท
สรรเสริญพระธรรมคุณจำนวน ๓๘ บท
และบทสรรเสริญพระสังฆคุณจำนวน ๑๔ บท
ประวัติ ในบรรดาผู้นิยมสาธยายบทสวดรัตนมาลาต่างกล่าวถึงที่มาของบทสวดนี้ต่างๆ กันออกไป
แต่ส่วนใหญ่ไม่สามารถระบุได้อย่างเฉพาะเจาะจงว่าผู้ใดที่รจนาพระคาถานี้
หรือพระคาถานี้ได้รับการรจนาขึ้นเมื่อใด บางตำรากล่าวว่า อิติปิโสรัตนมาลา ๑๐๘ คาถา
มีมาแต่โบราณกาล สืบทอดกันมาหลายสำนวน หลายฉบับ บางฉบับเขียนเล่าไว้ว่า
พระอาจารย์หลายท่านช่วยกันแต่ง จารึกไว้ในแผ่นศิลา แล้วนำมาแช่ไว้ในสระหลวง
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีหลายท่านทรงจำไว้ได้ มากบ้างน้อยบ้างสืบๆกันมา
บางความเห็นระบุเพียงว่า ได้รับการสืบทอดมาจากคณาจารย์สมัยกรุงศรีอยุธยา
และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ยังใช้ปลุกเสกพระสมเด็จของท่าน ทั้งนี้ F. Bizot ได้ทำการศึกษาการใช้มนต์ภาาบาลีเขียนยันต์ และพบว่า
ในบรรดาคาถาที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในพิธีพุทธาภิเษกคือ รัตนมาลา ซึ่งพบฉบับต่างๆ
ในพม่า ไทย และกัมพูชา โดยพบหลักฐานครั้งแรกในจารึกที่เมืองพุกาม เมื่อปีค.ศ. 1442 บทสวดรัตนมาลา หรือ อิติปิโสรัตนมาลา ๑๐๘
( นำ) หันทะ มะยัง อะนุสสะระณะ ปาฐะ คาถาโย ภะณา มะเส ฯ
พระพุทธคุณ ๕๖
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร
ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
๑. (อิ.) อิฏโฐ สัพพัญญุตัญญานัง อิจฉันโต อาสะวักขะยัง
อิฏฐัง ธัมมัง อะนุปปัตโต อิทธิมันตัง นะมามิหัง
๒. (ติ.) ติณโณ โย วัฏฏะทุกขัมหา ติณณัง โลกานะมุตตะโม
ติสโส ภูมี อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามิหัง
๓. (ปิ.) ปิโย เทวะมะนุสสานัง ปิโยพรหมานะมุตตะโม
ปิโย นาคะสุปัณณานัง ปิณินทริยัง นะมามิหัง
๔.( โส.) โสกา วิรัตตะจิตโต โย โสภะนาโม สะเทวะเก
โสกัปปัตเต ปะโมเทนโต โสภะวัณณัง นะมามิหัง
๕. (ภะ.) ภะชิตา เยนะ สัทธัมมา ภัคคะปาเปนะ ตาทินา
ภะยะสัตเต ปะหาเสนโต ภะยะสันตัง นะมามิหัง
๖. (คะ.) คะมิโต เยนะ สัทธัมโม คะมาปิโต สะเทวะกัง
คัจฉะมาโน สิวัง รัมมัง คะตะธัมมัง นะมามิหัง
๗. (วา.) วานา นิกขะมิ โย ตัณหา วาจัง ภาสะติ อุตตะมัง
วานะ นิพพาปะ นัตถายะ วายะมันตัง นะมามิหัง
๘. (อะ.) อะนัสสา สะกะสัตตานัง อัสสาสัง เทติ โย ชิโน
อะนันตะคุณะสัมปันโน อันตะคามิง นะมามิหัง
๙. (ระ.) ระโต นิพพานะสัมปัตเต ระโต โย สัตตะโมจะเน
รัมมาเปตีธะ สัตเต โย ระณะจัตตัง นะมามิหัง
๑๐. (หัง.) หัญญะติ ปาปะเก ธัมเม หังสาเปติ ปะรัง ชะนัง
หังสะมานัง มะหาวีรัง หันตะปาปัง นะมามิหัง
๑๑. (สัม.) สังขะตาสังขะเต ธัมเม สัมมา เทเสสิ ปาณินัง
สังสารัง สังวิฆาเฏติ สัมพุทธันตัง นะมามิหัง
๑๒. (มา.) มาตาวะ ปาลิโต สัตเต มานะถัทเธ ปะมัททิโต
มานิโต เทวะสังเฆหิ มานะฆาฏัง นะมามิหัง
๑๓. (สัม.) สัญจะยัง ปาระมี สัมมา สัญจิตะวา สุขะมัตตะโน
สังขารานัง ขะยัง ทิสวา สันตะคามิง นะมามิหัง
๑๔. (พุท.) พุชฌิตวา จะตุสัจจานิ พุชฌาเปติ มะหาชะนัง
พุชฌาเปนตัง สิวัง มัคคัง พุทธะเสฏฐัง นะมามิหัง
๑๕. (โธ.) โธติ ราเค จะ โทเส จะ โธติ โมเห จะ ปาณินัง
โธตะเกลสัง มะหาปุญญัง โธตาสะวัง นะมามิหัง
๑๖. (วิช.) วิเวเจติ อะสัทธัมมา วิจิตะวา ธัมมะเทสะนัง
วิเวเก ฐิตะจิตโต โย วิทิตันตัง นะมามิหัง
๑๗. (ชา.) ชาติธัมโม ชะราธัมโม ชาติอันโต ปะกาสิโต
ชาติเสฏเฐนะ พุทเธนะ ชาติมุตตัง นะมามิหัง
๑๘. (จะ). จะเยติ ปุญญะสัมภาเร จะเยติ สุขะสัมปะทัง
จะชันตัง ปาปะกัมมานิ จะชาเปนตัง นะมามิหัง
๑๙. (ระ.) ระมิตัง เยนะ นิพพานัง รักขิตา โลกะสัมปะทา
ระชะโทสาทิเกลเสหิ ระหิตันตัง นะมามิหัง
๒๐. (ณะ.) นะมิโตเยวะ พรหเมหิ นะระเทเวหิ สัพพะทา
นะทันโต สีหะนาทัง โย นะทันตัง ตัง นะมามิหัง
๒๑. (สัม.) สังขาเร ติวิเธ โลเก สัญชานาติ อะนิจจะโต
สัมมา นิพพานะสัมปัตติ สัมปันโน ตัง นะมามิหัง
๒๒.(ปัน.) ปะกะโต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โย สะเทวะเก
ปัญญายะ อะสะโม โหติ ปะสันนัง ตัง นะมามิหัง
๒๓. (โน . ) โน เทติ นิระยัง คันตุง โน จะ ปาปัง อะการะยิ
โน สะโม อัตถิ ปัญญายะ โนนะธัมมัง นะมามิหัง
๒๔. (สุ.) สุนทะโร วะระรูเปนะ สุสะโร ธัมมะภาสะเน
สุทุททะสัง ทิสาเปติ สุคะตันตัง นะมามิหัง
๒๕. (คะ.) คัจฉันโต โลกิยา ธัมมา คัจฉันโต อะมะตัง ปะทัง
คะโต โส สัตตะโมเจตุง คะตัญญาณัง นะมามิหัง
๒๖. (โต.) โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิเว วะเร
โตสัง อะกาสิ ชันตูนัง โตละจิตตัง นะมามิหัง
๒๗. (โล.) โลเภ ชะหะติ สัมพุทโธ โลกะเสฏโฐ คุณากะโร
โลเภ สัตเต ชะหาเปติ โลภะสันตัง นะมามิหัง
๒๘. (กะ.) กันโต โย สัพพะสัตตานัง กัตวา ทุกขักขะยัง ชิโน
กะเถนโต มะธุรัง ธัมมัง กะถาสัณหัง นะมามิหัง
๒๙. (วิ.) วินะยัง โย ปะกาเสติ วิทธังเสตวา ตะโย ภะเว
วิเสสัญญาณะสัมปันโน วิปปะสันนัง นะมามิหัง
๓๐. (ทู.) ทูเส สัตเต ปะหาเสนโต ทูรัฏฐาเน ปะกาสะติ
ทูรัง นิพพานะมาคัมมะ ทูสะหันตัง นะมามิหัง
๓๑. (อะ.) อันตัง ชาติชะราทีนัง อะกาสิ ทิปะทุตตะโม
อะเนกุสสาหะจิตเตนะ อัสสาเสนตัง นะมามิหัง
๓๒. (นุต.) นุเทติ ราคะจิตตานิ นุทาเปติ ปะรัง ชะนัง
นุนะ อัตถัง มะนุสสานัง นุสาสันตัง นะมามิหัง
๓๓. (ตะ.) ตะโนติ กุสะลัง กัมมัง ตะโนติ ธัมมะเทสะนัง
ตัณหายะ วิจะรันตานัง ตัณหาฆาฏัง นะมามิหัง
๓๔.( โร.) โรเสนโต เนวะ โกเปติ โรเสเหวะ นะ กุชฌะติ
โรคานัง ราคะอาทีนัง โรคะหันตัง นะมามิหัง
๓๕. (ปุ.) ปุณันตัง อัตตะโน ปาปัง ปุเรนตัง ทะสะปาระมี
ปุญญะวันตัสสะ ราชัสสะ ปุตตะภูตัง นะมามิหัง
๓๖. (ริ.) ริปุราคาทิภูตัง วะ ริทธิยา ปะฏิหัญญะติ
ริตตัง กัมมัง นะ กาเรตา ริยะวังสัง นะมามิหัง
๓๗. (สะ.) สัมปันโน วะระสีเลนะ สะมาธิปะวะโร ชิโน
สะยัมภูญาณะสัมปันโน สัณหะวาจัง นะมามิหัง
๓๘. (ทัม.) ทันโต โย สะกะจิตตานิ ทะมิตะวา สะเทวะกัง
ทะทันโต อะมะตัง เขมัง ทันตินทริยัง นะมามิหัง
๓๙. (มะ.) มะหุสสาเหนะ สัมพุทโธ มะหันตัง ญาณะมาคะมิ
มะหิตัง นะระเทเวหิ มะโนสุทธัง นะมามิหัง
๔๐. (สา.) สารัง เทตีธะ สัตตานัง สาเรติ อะมะตัง ปะทัง
สาระถี วิยะ สาเรติ สาระธัมมัง นะมามิหัง
๔๑. (ระ.) รัมมะตาริยะสัทธัมเม รัมมาเปติ สะสาวะกัง
รัมเม ฐาเน วะสาเปนตัง ระณะหันตัง นะมามิหัง
๔๒. (ถิ.) ถิโต โย วะระนิพพาเน ถิเร ฐาเน สะสาวะโก
ถิรัง ฐานัง ปะกาเสติ ถิตัง ธัมเม นะมามิหัง
๔๓. (สัต.) สัทธัมมัง เทสะยิตวานะ สันตะนิพพานะปาปะกัง
สะสาวะกัง สะมาหิตัง สันตะจิตตัง นะมามิหัง
๔๔. (ถา.) ถานัง นิพพานะสังขาตัง ถาเมนาธิคะโต มุนิ
ถาเน สัคคะสิเว สัตเต ถาเปนตัง ตัง นะมามิหัง
๔๕. (เท.) เทนโต โย สัคคะนิพพานัง เทวะมะนุสสะปาณินัง
เทนตัง ธัมมะวะรัง ทานัง เทวะเสฏฐัง นะมามิหัง
๔๖. (วะ.) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง อะนาสะวัง
วันทิตัง เทวะพรหเมหิ มะหิตันตัง นะมามิหัง
|