ตั้งให้เราเป็นเว็บแรกที่คุณเลือก
เก็บเราไว้เป็นเว็บโปรด
สมัครสมาชิก ได้มากกว่าที่คุณคิด
เข้าสู่ระบบ
บ้านหลวงปู่
คศช.
ข่าวสารล่าสุด
ประสบการณ์
โชว์วัตถุมงคล
สอบถาม
นานาสาระ
นครนาคราช
ร่วมประมูล
บูชาวัตถุมงคล
เพื่อน
กระทู้แนะนำ
บุ๊คมาร์ก
ไอเท็ม
เหรียญ
ภารกิจ
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
ดูบริการทั้งหมด
เว็บบอร์ด
BBS
บูชาวัตถุมงคลหลวงปู่ชื่น
ศรีสุทธรรมนาคราช
ร้านจอมพระ
ศูนย์พระเครื่องจอมพระ
ค้นหา
ค้นหา
HOT TAG:
พระศรีราม
ขุนแผนแสนตรีเวทย์
พระเจ้าชัยวรมัน
บอร์ดนี้
บทความ
เนื้อหา
สมาชิก
Baan Jompra
›
นานาสาระ
›
ตำนานพระเกจิอาจารย์แห่งแดนสยาม
»
"หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ"
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
ดู: 2300
ตอบกลับ: 2
"หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ"
[คัดลอกลิงก์]
morntanti
morntanti
ออฟไลน์
เครดิต
10113
ไปยังโพสต์
1
#
โพสต์ 2015-10-31 11:08
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
|
โพสต์ใหม่ขึ้นก่อน
|
โหมดอ่าน
แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย morntanti เมื่อ 2015-10-31 11:13
"หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ" วัดคลองมะดัน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี หลวงพ่อโหน่ง ท่านเกิดปีขาล ตรงกับวันอาทิตย์ พ.ศ. 2409 ตำบลต้นตาลอำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี อายุได้ 24ปีอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดสองพี่น้องโดยอธิการจันทร์ วัดทุ่งคอก เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการดิษฐ์ วัดทุ่งคอก เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายาว่า"อินฺทสุวณฺโณ" หลังจากอุปสมบทแล้วได้จำพรรษาที่วัดทุ่งคอก เพื่อศึกษาวิปัสสนากรรมฐานกับพระอธิการจันทร์อุปัชฌาย์ของท่านหลวงพ่อโหน่ง ศึกษาวิปัสสนากรรมฐานกับพระอธิการจันทร์ ได้ 2 พรรษาได้ย้ายมาจำพรรษาที่วัดสองพี่น้องโดยถือปฏิบัติวิปัสสนาธุระและคันถธุระโดยเคร่งครัด หลวงพ่อโหน่งได้ฝากตัวเป็นศิษย์หลวงพ่อเนียม วัดน้อย จนกระทั่งมีความรู้แตกฉานเป็นที่ไว้วางใจแก่หลวงพ่อเนียมได้เมื่อตอนหลวงพ่อปาน วัดบางนมโค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มาเป็นลูกศิษย์ หลวงพ่อเนียม พูดกับหลวงพ่อปานว่า"เวลาข้าตายแล้วหากสงสัยอะไรก็ให้ไปถามท่านโหน่งเขานะท่านโหน่งเขาแทนข้าได้"
ต่อมาหลวงพ่อโหน่งได้จำพรรษา ณ วัดคลองมะดัน(วัดอัมพวัน)ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดคลองมะดัน ท่านได้บำรุงพัฒนาถาวรวัตถุในวัดจนเจริญรุ่งเรืองเป็นที่เคารพศรัทธาของชาวบ้านและประชาชนเป็นอย่างมากครับ วัตถุมงคลของท่านส่วนใหญ่จะเป็นประเภทเนื้อดินเผาสีของพระจะออกสีแดงอมส้ม บางองค์สีเทา สีน้ำตาลลอมดำและสีดำก็มีเนื้อพระส่วนใหญ่เป็นดินละเอียดบางองค์มีแร่ดอกมะขามมีลักษณะเป็นจุดแดงแดง บางองค์มีแก้วแกลบจมอยู่ในเนื้อพระ ด้านหลังบางองคนจารึกอักขระขอมและพ.ศ. การสร้างในขั้นตอนการเผาเนื้อพระ ท่านจะทำพิธีพุทธาภิเษกพระคณาจารย์ที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นมาประกอบพิธีพระเครื่องที่ท่านสร้างขึ้นและเสกแล้วท่านจะเก็บไว้ในโอ่งท่านจะหยิบใส่พาน ตั้งตรงหน้าท่านจำนวนหนึ่ง เพื่อแจกแก่ญาติโยมไปเรื่อยเรื่อย เมื่อข่าวหลวงพ่อโหน่ง สร้างพระและแจกพระแพร่กระจายออกไปมีประชาชนทั้งใกล้และไกลมารับแจกพระจากท่านเป็นจำนวนมากทุกๆวัน นอกจากนี้แล้วหลวงพ่อโหน่ง ยังได้นำพระอีกส่วนหนึ่งไปบรรจุไว้ที่ปูชนียสถานหลายแห่งภายในวัดคลองมะดันและที่วัดทุ่งคอกด้วยครับส่วนที่เหลือ ก็แจกให้แก่ผู้ที่มาขอตลอดอายุขัยของท่าน หลวงพ่อโหน่งมรณภาพเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2477 อายุ 68 ปี 44พรรษา พระเครื่องที่ท่านสร้างขึ้นมีหลายพิมพ์อาทิเช่น พิมพ์ซุ้มกอพิมพ์ขุนแผนหน้าค่ายพิมพ์ลีลากำแพงนิ้ว พิมพ์สมเด็จฐานคู่ พิมพ์สมเด็จปกโพธิ์ และพระบูชาเนื้อดินเป็นต้นครับ ด้านพุทธคุณวัตถุมงคลของหลวงพ่อโหน่ง มีพุทธคุณเด่นทางเมตตามหานิยมและแคล้วคลาดจากอันตรายเป็นเลิศ จึงเป็นที่เสาะหาของบรรดานักสะสมพระเครื่องของเมืองไทยเลยครับ สุดท้ายนี้ผมขอบารมีของหลวงพ่อโหน่งช่วยดลบันดาลให้ทุกท่านและครอบครัวจงปลอดภัยและมีความสุขตลอดกาลเลยนะครับ
ถูกใจ 392 คน
ความคิดเห็น 23 รายการ
แชร์ 17 ครั้ง
เครดิต เรื่อง ภาพ จาก Sunes Amulet
บุ๊คมาร์ก
0
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Sornpraram
Sornpraram
ออฟไลน์
เครดิต
36164
2
#
โพสต์ 2015-11-2 07:36
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
oustayutt
oustayutt
ออฟไลน์
เครดิต
22903
3
#
โพสต์ 2015-11-2 20:56
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ขอบคุณครับ
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
โหมดขั้นสูง
B
Color
Image
Link
Quote
Code
Smilies
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงชื่อเข้าใช้
|
ลงทะเบียน
รายละเอียดเครดิต
ตอบกระทู้
ข้ามไปยังโพสต์ล่าสุด
ตอบกระทู้
ขึ้นไปด้านบน
ไปที่หน้ารายการกระทู้
Share To Facebook
Share To Twitter
Share To Google+
Share To ...