ตั้งให้เราเป็นเว็บแรกที่คุณเลือก
เก็บเราไว้เป็นเว็บโปรด
สมัครสมาชิก ได้มากกว่าที่คุณคิด
เข้าสู่ระบบ
บ้านหลวงปู่
คศช.
ข่าวสารล่าสุด
ประสบการณ์
โชว์วัตถุมงคล
สอบถาม
นานาสาระ
นครนาคราช
ร่วมประมูล
บูชาวัตถุมงคล
เพื่อน
กระทู้แนะนำ
บุ๊คมาร์ก
ไอเท็ม
เหรียญ
ภารกิจ
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
ดูบริการทั้งหมด
เว็บบอร์ด
BBS
บูชาวัตถุมงคลหลวงปู่ชื่น
ศรีสุทธรรมนาคราช
ร้านจอมพระ
ศูนย์พระเครื่องจอมพระ
ค้นหา
ค้นหา
HOT TAG:
พระศรีราม
ขุนแผนแสนตรีเวทย์
พระเจ้าชัยวรมัน
บอร์ดนี้
บทความ
เนื้อหา
สมาชิก
Baan Jompra
›
นานาสาระ
›
ตำนาน เรื่องเล่า เกร็ดความรู้ เรื่องลี้ลับ
»
ที่มาของพระพุทธรูปปางมหาจักรพรรดิ์
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
ดู: 1587
ตอบกลับ: 3
ที่มาของพระพุทธรูปปางมหาจักรพรรดิ์
[คัดลอกลิงก์]
oustayutt
oustayutt
ออฟไลน์
เครดิต
22903
ไปยังโพสต์
1
#
โพสต์ 2015-5-20 19:35
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
|
โพสต์ใหม่ขึ้นก่อน
|
โหมดอ่าน
พระพุทธรูปปางมหาจักรพรรดิ์
ตามตำนานพุทธประวัติที่หลวงปู่ดู่
พรหมปัญโญเล่าให้สานุศิษย์รู้ไวว่า
ในสมัยพุทธกาลมีพระมหากษัตริย์ผู้เรืองอำนาจองค์หนึ่งซึ่งเป็นกษัตริย์ปกครองเมืองปัญจาลราษฐ
พระนามว่า
“พญาชมพูบดี”
กล่าวกันว่าพร้อม
ๆ
กับการประสูติของพระองค์
ขุมทองในที่ต่าง
ๆ
ก็ผุดขึ้นมามากมาย
อันแสดงถึงบุญญาธิการของ
พระองค์ประชาชนในเมืองจึงมีฐานะความเป็นอยู่ที่มั่นคั่งสมบูรณ์
พญาชมพูบดี
ทรงมีอาวุธวิเศษ
๒
อย่าง
คือฉลองพระบาทแก้ว
ซึ่งเมื่อสวมเขาไปแล้วก็จะพาพระองค์เหาะไปในที่ต่าง
ๆ
ได้
ทั้งยังใช้อธิษฐานแปลงเป็นนาคราชเข้าประหัตประหารศัตรูได้อีกด้วย
อาวุธวิเศษอย่างที่สองคือ
วิษศร
ซึ่งเป็นลูกศรวิเศษใช้ต่างราชทูตหากกษัตริย์เมืองใดไม่มาอ่อนน้อมขึ้นต่อพระองค์
วิษศรนี้ก็จะไปร้อยพระกรรณพาตัวมาเข้าเฝ้าพระองค์จนได้ทำให้กษัตริย์ทั้งหลายพากันยำเกรงในพระเดชานุภาพแห่งพญาชมพูบดี
รุกรานพระเจ้าพิมพิสาร
ด้วยอาวุธวิเศษคู่พระกาย
พระองค์ได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางกระทั่งถึงกรุงราชคฤห์ของพระเจ้าพิมพิสารผู้เป็นพุทธอุบาสกแห่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอาวุธวิเศษของพระองค์ก็ไม่อาจทำอันตรายแก่พระเจ้าพิมพิสารได้ด้วยอาศัยพระพุทธานุภาพ
พญาชมพูบดีทรงแค้นพระทัยมาก
แม้จะส่งอาวุธอย่างใดมาก็พ่ายแพ้แก่พุทธจักร
และพุทธานุภาพแห่งพระพุทธองค์
พระพุทธองค์ทรงนิมิตองค์เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์
บุ๊คมาร์ก
0
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
oustayutt
oustayutt
ออฟไลน์
เครดิต
22903
2
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2015-5-20 19:36
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
เมื่อพระพุทธองค์ทรงเห็นว่าพญาชมพูบดีประสบความพ่ายแพ้
มีทิฎฐิมานะเบาบางลงประกอบกับทรงเล็งเห็นวาสนาปัญญาของพญาชมพูบดี
ที่จะสามารถสำเร็จมรรคผลได้
จึงมีพุทธฎีกาตรัสใช้ให้องค์อินทร์แปลงเป็นราชทูตพาพญาชมพูบดีมาเข้าเฝ้า
ส่วนพระพุทธองค์ทรงนิมิตองค์เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ทรงเครื่องราชาภรณ์ล้วนแต่งดงาม
ส่วนพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเถระเจ้า
พร้อมด้วยเหล่าภิกษุสงฆ์สาวกก็เนรมิตกายเป็นเสนาบดีใหญ่น้อย
ล้วนแต่น่ากรงขามทั้งเนรมิตเวฬุวัน
ให้เป็นพระนครใหญ่ประกอบด้วยกำแพงถึง
๗
ชั้น
และมีพุทธฎีกาตรัสสั่งให้เทวดา
อินทร์
พรหม
คนธรรพ์
และนาค
ร่วมเนรมิตเป็นตลาดน้ำและตลาดบก
พญาชมพูบดีเขาเฝ้าพระพุทธองค์
เมื่อองค์อินทร์ซึ่งเนรมิตกายเป็นราชทูตไปถึงเห็นพญาชมพูบดี
และเหล่าเสนาอำมาตย์ยังถือดี
จึงแสดงฤทธานุภาพเป็นที่ประจักษ์
พญาชมพูบดีไม่อาจแข็งขืนจำยอม
ต้องยกพลเดินทัพเพื่อเข้าเฝ้าพระพุทธองค์
เมื่อพญาชมพูบดีเดินทางเข้าเขตพระนครก็ตกตะลึงกับความยิ่งใหญ่อลังการแห่งพระนครที่พระองค์ทรงเนตมิต
ซึ่งแม้แต่เหล่าแม่ค้าริมทางก็ยังงดงามกว่าอัครมเหสีของพญาชมพูบดี
จนชวนให้รู้สึกขวยเขินก้าวเดินไม่ตรงทาง
และเมื่อผ่านมายังกำแพงพระนครแต่ละชั้นทอดพระเนตรเห็นเหล่าเสนาอำมาตย์ที่รักษากำแพงพระนครพระทัยก็ประหวั่นพรั่นกลัว
พระเสโทไหลโทรมทั่วพระสกลกาย
ถึงกำแพงชั้นในซึ่งเป็นแก้ว
ก็ทำท่าจูงกระเบน
เหน็บรั้ง
ด้วยเข้าพระทัยผิดคิดว่าเป็นเสียงนางในร้องเย้ยเยาะว่ากษัตริย์บ้านนอก
กระทำเชย
ๆ
พระองค์ก็รู้สึกได้รับอัปยศอย่างยิ่ง
พระพุทธองค์แสดงธรรมโปรดพญาชมพูบดี
พญาชมพูบดีเมื่อทรงมาถึงต่อหน้าพระพักตร์แห่งพระบรมศาสดา
ซึ่งเนรมิตกายเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ก็ยังไม่หมดทิฎฐิมานะ
และเมื่อพระพุทธองค์เชื้อเชิญให้แสดงฤทธิ์เดชอำนาจและของวิเศษทุกสิ่งทุกอย่างออกมาพญาชมพูบดีก็ต้องได้รับความอัปยศยิ่งขึ้นไปอีก
ด้วยไม่อาจทำอันตรายพระพุทธองค์ได้เลยแม้แต่น้อย
เมื่อ
พระพุทธองค์ทรงพิจารณาเห็นว่าพญาชมพูคลายทิฎฐิมานะลงมากแล้ว
จึงทรงแสดงพระธรรมเทศนาโปรดพญาชมพูบดี
และเหล่าเสนาอำมาย์ที่ติดตามมาด้วยจำนวนมากให้เห็นสิ่งที่เป็นสาระและมิใช่สาระ
ให้เห็นโทษแห่งการเวียนเกิด
เวียนตาย
ในวัฎสงสารทั้งให้เห็นคุณแห่งพระนิพพาน
พญาชมพูบดีและเหล่าเสนาอำมาตย์
ต่าง
รู้สึกปิติโสมนัส
ปลดมงกุฎและและเครื่องประดับของตนวางแทบพระบาทแห่งพระศาสดา
เพื่อสักการะด้วยความรู้สึกเทิดทูล
ขออุปสมบทต่อพระพุทธองค์
จากนั้นพระพุทธองค์พร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์สาวก
เทวดา
อินทร์
พรหม
คนธรรพ์
และนาคก็คลายฤทธานุภาพกลับสู่สภาพเดิม
พระพุทธองค์ทรงประทานอุปสมบทแก่พญาชมพูบดีพร้อมทั้งเหล่าอำมาตย์และทรงแสดงพระธรรมเทศนาให้คลายความลุ่มหลงในเบญจขันธ์มีรูป
เป็นต้น
ว่าดั่งอุปมาดั่งพยับแดด
หาสารตัวตนที่เที่ยงแท้อันใดมิได้
และแสดงธรรมเทศนาต่าง
ๆ
เป็นเอนกปริยาย
พญาชมพูบดีและเหล่าเสนาอำมาตย์ก็ดื่มด่ำในพระอมตธรรมสลัดเสียซึ่งตัณหา
อุปทาง
จิตของท่านก็เข้าอรหัตผล
สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลในพระบวรพุทธศาสนา
--------------------------------------
คาถาบูชาพระพุทธรูปปางมหาจักรพรรดิ์
นะ
โม
พุท
ธา
ยะ
พระพุทธไตรรัตนญาณ
มณีพนรัตน์
สีสะหัสสะ
สุธรรมา
พุทโธ
ธัมโม
สังโฆ
ยะธาพุทโมนะ
พุทธบูชา
ธัมมะบูชา
สังฆะบูชา
อัคคีทานัง
วะรังคันธัง
สีวลี
จะมหาเถรัง
อะหังวันทามิ
ทูระโต
อะหังวันทามิ
ธาตุโย
อะหังวันทามิ
สัพพะโส
พุทธะ
ธัมมะ
สังฆะ
ปูเชมิ
.
--------------------------------------
หมายเหตุ
พระพุทธรูปปางมหาจักรพรรดิ์
องค์ใหญ่ประดิษฐานอยู่ที่
วัดหน้าพระเมรุ
อ
.
พระนครศรีอยุธยา
จ
.
พระนครศรีอยุธยา
เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาพม่าเคยใช้บริเวณวัดนี้เป็นฐานทัพ
และได้ตีกรุงศรี
อยุธยาแตกได้เผาวัดวาอารามหลายแห่งแต่ไม่กล้าเผาวัดนี้
เพราะเกรงกลัวพระพุทธรูปปางมหา
จักรพรรดิ์
นั่นเอง
.
..... อ่านต่อได้ที่:
https://www.gotoknow.org/posts/76739
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Sornpraram
Sornpraram
ออฟไลน์
เครดิต
36164
3
#
โพสต์ 2015-5-21 06:19
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
majoy
majoy
ออฟไลน์
เครดิต
24694
4
#
โพสต์ 2015-6-7 00:33
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
สาธุๆๆ
พระที่อาจารย์สร้าง ก็มีปางค์นี้อยู่ด้วย
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
โหมดขั้นสูง
B
Color
Image
Link
Quote
Code
Smilies
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงชื่อเข้าใช้
|
ลงทะเบียน
รายละเอียดเครดิต
ตอบกระทู้
ข้ามไปยังโพสต์ล่าสุด
ตอบกระทู้
ขึ้นไปด้านบน
ไปที่หน้ารายการกระทู้
Share To Facebook
Share To Twitter
Share To Google+
Share To ...