ตั้งให้เราเป็นเว็บแรกที่คุณเลือก
เก็บเราไว้เป็นเว็บโปรด
สมัครสมาชิก ได้มากกว่าที่คุณคิด
เข้าสู่ระบบ
บ้านหลวงปู่
คศช.
ข่าวสารล่าสุด
ประสบการณ์
โชว์วัตถุมงคล
สอบถาม
นานาสาระ
นครนาคราช
ร่วมประมูล
บูชาวัตถุมงคล
เพื่อน
กระทู้แนะนำ
บุ๊คมาร์ก
ไอเท็ม
เหรียญ
ภารกิจ
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
ดูบริการทั้งหมด
เว็บบอร์ด
BBS
บูชาวัตถุมงคลหลวงปู่ชื่น
ศรีสุทธรรมนาคราช
ร้านจอมพระ
ศูนย์พระเครื่องจอมพระ
ค้นหา
ค้นหา
HOT TAG:
พระศรีราม
ขุนแผนแสนตรีเวทย์
พระเจ้าชัยวรมัน
บอร์ดนี้
บทความ
เนื้อหา
สมาชิก
Baan Jompra
›
นานาสาระ
›
ตำนาน เรื่องเล่า เกร็ดความรู้ เรื่องลี้ลับ
»
กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
ดู: 1749
ตอบกลับ: 1
กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
[คัดลอกลิงก์]
Sornpraram
Sornpraram
ออฟไลน์
เครดิต
36164
ไปยังโพสต์
1
#
โพสต์ 2015-1-5 06:28
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
|
โพสต์ใหม่ขึ้นก่อน
|
โหมดอ่าน
ศาลกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ มีอยู่ถึง 217 แห่งทั่วประเทศโดยเฉพาะจังหวัดที่มีทะเล
เช่นจังหวัดชลบุรีเขาพระตำหนัก หรือ สัตหีบ
แต่ที่ใหญ่ที่สุดจะเป็นศาลกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ที่ จ.ชุมพร
ประวัตกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
พระบิดาแห่งทหารเรือไทย พระองค์ท่านเป็นที่เคารพรักของเหล่าทหารเรือ ชาวประมง และปราชาชนทั่วไปโดยเฉพาะชาวชุมพรนั้นกล่าวได้ว่า แทบทุกบ้านจะมีพระรูปของพระองค์ท่านไว้บูชา ด้วยทรงเป็นที่เคารพศรัทธายิ่งจนมีพระสมัญญาว่า "เสด็จเตี่ย"
กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ทรงเป็นพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้สเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ประสูติเมื่อ วันที่ 19 ธ.ค. 2423 พระนามเดินมว่า พระองค์เจ้าชายอาภากรเกียรติวงศ์ทรงเข้ารับการศึกษาเบื้องต้นในพระบรมมหาราชวัง และเป็นนักเรียนโรงเรียนหลวง ณ พระตำหนักสวนกุหลาบอยู่จนถึงโสกันต์
ในปี พ.ศ.2436 เมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ และทรงศึกษาต่อในวิชาการทหารเรือ ทรงสอบผ่านหลักสูตรชั้นสูงสุดของโรงเรียนนายเรืออังกฤษ จากนั้นจึงเสด็จนิวัติสู้สยาม
ในปี พ.ศ.2447 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาอิสริยยศขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามพระสุพรรณบัฏว่า พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์สิงหนาม ขณะที่ดำรงตำแหน่งเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารเรือ ทรงดำริถึงการปรับปรุงกิจการทหารเรือ โดยทหารเรือสยามควรปฏิบัติงานแทนนายทหารเรือต่างชาติที่ราชสำนักสยามจ้างไว้ได้ อันถือเป็นการวางรากฐานวิชาการทหารเรือตามแบบตะวันตกเป็นครั้งแรกในสยาม
และในปี พ.ศ. 2448 ทรงกราบทูลพระราชบิดาเพื่อขอพระราชทานที่ดินในการจัดตั้งโรงเรียนนายเรือที่บริเวณพระราชวังเดิม ฝั่งธนบุรี หลังจากนั้นได้ก่อตั้งโรงเรียนพลทหารเรือในเขตจังหวัดชายทะเล เช่น สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ จันทบุรี ระยอง และชลบุรี
เมื่อครั้งที่ทรงดำรงตำแหน่งเสนาธิการทหารเรือในปี พ.ศ. 2465 ได้กราบบังคมทูลพระราชบิดาขอพระราชทานที่ดินบริเวณ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เพื่อตั้งเป็นฐานทัพเรือ อันเป็นรากฐานสำคัญต่อการพัฒนากองทัพเรือต่อมา
พระราชกรณียกิจที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ทรงเป็นหมอยาไทยในช่วงที่พระองค์ทรงออกจากประจำการระหว่างปี พ.ศ. 2466 ทรงศึกษาวิชาแพทย์แผนไทยจากพระยาพิษณุฯ หัวหน้าหมอหลวงแห่งพระราชสำนัก หัวหน้าฝ่ายยาไทยแห่งประเทศไทย ซึ่งได้ทรงรักษาประชาชนทั่วไปจนรู้จักกันดีในนาม "หมอพร"
ในปี พ.ศ. 2463 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระอิสริยยศเป็นพลเรือเอก พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์สิงหนาม หลังจากนั้น พ.ศ. 2466 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ จนกระทั่งประชวรพระโรคภายใน จึงกราบบังคมทูลลาออกจากราชการและเสด็จไปประทับที่ชายทะเลหาดทรายรี ทางใต้ของปากน้ำ จ. ชุมพร และสิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2466 ขณะมีพระชนมายุเพียง 44 พรรษา
บุ๊คมาร์ก
0
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Nujeab
Nujeab
ออฟไลน์
เครดิต
27798
2
#
โพสต์ 2015-1-5 10:45
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ขอบคุณครับ ได้เคยไปกราบสักการะรูปเหมือนของท่านที่วัดปากคลองมะขามเฒ่ากับที่ดอนหอยหลอดเท่านั้นเอง
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
โหมดขั้นสูง
B
Color
Image
Link
Quote
Code
Smilies
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงชื่อเข้าใช้
|
ลงทะเบียน
รายละเอียดเครดิต
ตอบกระทู้
ข้ามไปยังโพสต์ล่าสุด
ตอบกระทู้
ขึ้นไปด้านบน
ไปที่หน้ารายการกระทู้
Share To Facebook
Share To Twitter
Share To Google+
Share To ...