ตั้งให้เราเป็นเว็บแรกที่คุณเลือก
เก็บเราไว้เป็นเว็บโปรด
สมัครสมาชิก ได้มากกว่าที่คุณคิด
เข้าสู่ระบบ
บ้านหลวงปู่
คศช.
ข่าวสารล่าสุด
ประสบการณ์
โชว์วัตถุมงคล
สอบถาม
นานาสาระ
นครนาคราช
ร่วมประมูล
บูชาวัตถุมงคล
เพื่อน
กระทู้แนะนำ
บุ๊คมาร์ก
ไอเท็ม
เหรียญ
ภารกิจ
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
ดูบริการทั้งหมด
เว็บบอร์ด
BBS
บูชาวัตถุมงคลหลวงปู่ชื่น
ศรีสุทธรรมนาคราช
ร้านจอมพระ
ศูนย์พระเครื่องจอมพระ
ค้นหา
ค้นหา
HOT TAG:
พระศรีราม
ขุนแผนแสนตรีเวทย์
พระเจ้าชัยวรมัน
บอร์ดนี้
บทความ
เนื้อหา
สมาชิก
Baan Jompra
›
นานาสาระ
›
ตำนาน เรื่องเล่า เกร็ดความรู้ เรื่องลี้ลับ
»
พระถังซัมจั๋ง : ตถาตาหมื่นลี้ที่ปลายจมูก
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
ดู: 2693
ตอบกลับ: 5
พระถังซัมจั๋ง : ตถาตาหมื่นลี้ที่ปลายจมูก
[คัดลอกลิงก์]
kit007
kit007
ออฟไลน์
เครดิต
32163
ไปยังโพสต์
1
#
โพสต์ 2014-10-6 08:50
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
|
โพสต์ใหม่ขึ้นก่อน
|
โหมดอ่าน
พระถังซัมจั๋ง :
ตถาตาหมื่นลี้ที่ปลายจมูก
หากเอ่ยนามสมณะ
เสวียนจั้ง
ผมเชื่อว่าหลายท่านคงไม่รู้จักเท่าการเอ่ยนาม
พระถังซัมจั๋ง
ยิ่งเมื่อกล่าวถึง
"ไซอิ๋ว"
วรรณกรรมเรื่องเยี่ยม และยิ่งใหญ่ หนึ่งในสี่ของจีน
เราคงคุ้นเคยกับศิษย์ทั้งสามของท่านคือ
"หงอคง" (อู้คง)
หมายถึง
"สุญญตา"
คือ
ความว่างอันเป็นสมาธิขั้นสูงของผู้บรรลุธรรม
"โป๊ยก่าย" (ปาเจี้ย)
แปลว่า
ศีลแปด
และ
"ซัวเจ๋ง" (ซาเซิง)
หมายถึง
พระผู้ใฝ่แสวงปัญญา
อีกด้วย
ไซอิ๋ว
นั้น เขียนขึ้นในสมัยปลายราชวงศ์หมิง
ต้องการสะท้อนความไม่พอใจต่อความอ่อนแอ
ไร้ความสามารถของชนชั้นปกครอง
ที่ปล่อยให้ต่างชาติเข้ารุกรานแผ่นดิน
และต่อต้านการกดขี่ข่มเหงประชาชนของนักการเมืองในสมัยนั้น
โดยผูกเรื่องเชื่อมโยงการเดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎก
ในชมพูทวีปของ
พระถังซัมจั๋ง
บุ๊คมาร์ก
0
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
kit007
kit007
ออฟไลน์
เครดิต
32163
2
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2014-10-6 08:51
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ผู้แต่งให้พวกเขาได้ต่อสู้กับปีศาจร้าย
เหมือนความเลวร้ายที่ท่านต้องเผชิญ
ทำให้เห็นถึงวัตรปฏิบัติ และความมุมานะ อุทิศชีวิตฝ่าฟันอุปสรรค
เพื่อค้นหา แปล และเผยแผ่พระสัจธรรมในพุทธศาสนาในจีน
ทำให้เรื่องราวของ
พระถังซัมจั๋ง
เป็นที่ศรัทธาทั้งในหมู่ชาวพุทธ และชาวโลก
ทั้งในฐานะนักเดินทาง นักภาษาศาสตร์ และผู้รอบรู้พระพุทธศาสนา
พระถังซัมจั๋ง
ถือเป็นอัจฉริยะโดยกำเนิดศึกษาพุทธธรรมตั้งแต่เด็ก
และได้บวชเป็นเณรตอนอายุ ๑๓ ปี
ท่านศึกษา และปฏิบัติธรรมบ่มเพาะจิตใจให้มีคุณธรรมตั้งแต่วัยเยาว์
ภายหลังแม้ท่านใฝ่หาผู้รู้จนทั่วแผ่นดินจีน
แต่ก็ไม่สามารถเข้าถึงแก่นเนื้อแท้
ขาดผู้รู้ภาษาบาลี-สันสกฤตอย่างลึกซึ้ง
การศึกษาค้นคว้าของท่านทำให้รู้ว่า
บางบทก็ผิดจากความจริง บางเรื่องก็ได้ความไม่ครบถ้วน
เมื่อย่างเข้าเดือน ๘ ของปี พ.ศ.๑๑๗๒
ท่านตัดสินใจเดินทางไปดินแดนชมพูทวีป
แม้การเดินทางครั้งนั้นจะยากลำบากยิ่งนัก
พบอุปสรรคมากมายท่ามกลางความร้อนระอุของท้องทะเลทรายโดยลำพัง
มีเพียงกองกระดูก และมูลม้าเป็นแนวทางให้แสวงหา
ยิ่งเป็นช่วงเปลี่ยนราชวงศ์จากสุยเป็นถัง
การเดินทางยิ่งถูกคุมเข้มงวดยิ่งขึ้น
พระถังซัมจั๋ง
ใช้เวลาประมาณ ๑๒ ปี
ศึกษาค้นคว้าใน
นาลันทา
มหาวิหารมหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุคนั้น
จากนั้นได้เดินทางไปศึกษาในที่ต่างๆ ที่ขึ้นชื่อว่ามีวิชาดี จนแตกฉาน
สามารถเทศน์ได้จับใจสอนบุคคลทั่วไป
และแต่งหนังสือขึ้น จนมีประสบการณ์มากพอ
และทำให้ท่านมีชื่อเสียงในดินแดนชมพูทวีปไม่แพ้สมัยที่อยู่เมืองจีน
รวมเวลาเดินทางไป-กลับ ประมาณ ๑๙ ปี
การจาริกสู่ชมพูทวีปของท่านนั้น
เป้าหมายปลายทางหลักคือศึกษาคัมภีร์ที่นาลันทา และนมัสการพุทธสถาน
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
kit007
kit007
ออฟไลน์
เครดิต
32163
3
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2014-10-6 08:53
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
แต่เป้าหมายระหว่างทางคือโอกาสแห่งการศึกษา
ที่ท่านมักหาโอกาสวิสัชนาธรรมกับผู้รู้อยู่ตลอด
ทำให้เราพบว่า แท้จริงแล้วธรรมนั้นมิได้อยู่คัมภีร์
แต่อยู่ที่การปฏิบัติดีด้วยจิตที่มุ่งมั่น
ย่อมสามารถค้นพบ และเข้าถึงสัจธรรมได้
ท่านเดินทางกลับจีนเมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๑๑๘๘
พร้อมได้อัญเชิญ
พระบรมสารีริกธาตุ พระไตรปิฎก
และ
พระพุทธรูป
ต่างๆ กลับ
ฉางอาน
ใช้ม้าบรรทุกถึง ๒๐ ตัว รวมคัมภีร์ทั้งสิ้น
๖๕๗
ปกรณ์
ในระหว่างการเดินทางกลับนั้น
ตรงกับรัชสมัยของพระเจ้าถังไท้จงขึ้นครองราชย์
ทรงเลื่อมใสนับถือท่านมาก
พระพุทธศาสนาในจีนรุ่งเรืองสุดสุด ด้วยคุณูปการยิ่งใหญ่ที่ท่านสร้างให้ไว้
และเมื่อท่านอายุ ๖๙ ปี ก็ดับขันธ์อย่างสงบ
โดยที่
พระเจ้าถังไท้จง
ถึงกับทรงกันแสง
และออกโอษฐ์ว่า
"ดวงมณีของชาติได้ดับสูญแล้ว"
นับว่าสิ่งที่ท่านได้เพียรพยายามด้วยจิตตั้งมั่น
ถวายชีวิตเป็นพุทธบูชา
ย่อมเป็นประโยชน์ต่อพุทธศาสนิกชนทั่วโลก
หากเราในฐานะศูนย์กลางพระพุทธศาสนาของโลก
จะได้สร้างพระผู้ใฝ่แสวงหาความรู้ให้ลึกซึ้ง
และมุ่งมั่นเผยแผ่ให้มากขึ้นกว่าการสร้างศาสนสถาน และวัตถุ
ผมเชื่อมั่นว่าจะทำให้ศีลธรรมของเราก้าวหน้า และมั่นคงขึ้นอย่างแน่นอน
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
kit007
kit007
ออฟไลน์
เครดิต
32163
4
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2014-10-6 08:54
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ที่มา : บทความจาก มติชนออนไลน์
ที่มา
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=24&t=20219
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
majoy
majoy
ออฟไลน์
เครดิต
24696
5
#
โพสต์ 2014-10-6 13:49
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
lnw
lnw
ออฟไลน์
เครดิต
1686
6
#
โพสต์ 2014-11-15 22:49
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
โหมดขั้นสูง
B
Color
Image
Link
Quote
Code
Smilies
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงชื่อเข้าใช้
|
ลงทะเบียน
รายละเอียดเครดิต
ตอบกระทู้
ข้ามไปยังโพสต์ล่าสุด
ตอบกระทู้
ขึ้นไปด้านบน
ไปที่หน้ารายการกระทู้
Share To Facebook
Share To Twitter
Share To Google+
Share To ...