ตั้งให้เราเป็นเว็บแรกที่คุณเลือก เก็บเราไว้เป็นเว็บโปรด
สมัครสมาชิก ได้มากกว่าที่คุณคิด เข้าสู่ระบบ
ดู: 4692
ตอบกลับ: 1
สั่งพิมพ์ ก่อนหน้า ถัดไป

แก้งขี้พระร่วงไม้แปลกกลิ่นเหม็นเหมือนอุจจาระ

[คัดลอกลิงก์]





แก้งขี้พระร่วง
                                           ULMACEAE
Celtis timorensis Span.
ชื่ออื่น       กล้วย (จันทบุรี) ขี้พระร่วง มันปลาไหล (นครราชสีมา) เช็ดก้นพระเจ้า (น่าน) เช็ดขี้พระเจ้า (เชียงใหม่) ตะคาย มะหาดน้ำ เยื้อง หม่อนดง ตายไม่ทันเฒ่า (ภาคใต้)
        แก้งขี้พระร่วงเป็นไม้ต้น สูง 520 . เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงถึงค่อนข้างกลม เปลือกสีเทา เรียบ เปลือกชั้นในสีน้ำตาลคล้ำ กิ่งอ่อน ก้านใบ และช่อดอกมีขนนุ่มสั้นคลุม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 58 ซม. ยาว 815 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเบี้ยว มน ถึงสอบกว้าง ขอบใบเรียบถึงหยัก ผิวใบเกลี้ยงถึงมีขนเล็กน้อยตามเส้นใบ มีเส้นใบหลัก 3 เส้นจากโคนใบ ก้านใบยาว 0.51 ซม. ดอก เล็ก ออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบ  ผล รูปไข่ กว้างประมาณ 0.5 ซม. ยาวประมาณ 0.7 ซม. ปลายผลเป็นติ่งคล้ายง่ามหนังสติ๊ก ซึ่งเจริญมาจากปลายก้านเกสรเพศเมีย เมื่อสุกสีแดง
        แก้งขี้พระร่วงมีการกระจายพันธุ์ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ที่ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 150600 . ในต่างประเทศพบที่ศรีลังกา บังคลาเทศ พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
        เนื้อไม้ของแก้งขี้พระร่วงมีกลิ่นเหม็น ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ในการก่อสร้าง แต่มักนำมาปรุงเป็นยาขับพยาธิไส้เดือนในเด็ก



แก้งขี้พระร่วงไม้แปลกกลิ่นเหม็นเหมือนอุจจาระ


แก้งขี้พระร่วง


ได้ยินชื่อไม้นี้ครั้งแรกจากพ่อบู้ พ่อหมออำเภอสูงเนิน ทั้งได้ดูและได้ดม ท่อนนี้พ่อบู้ไปบูชาเค้ามาหนึ่งพันบาทเก็บมาไว้ให้ลูกหลานได้ศึกษาแกถากเปลือกให้ดมหน่อยนึง เหม็นจริงๆสมชื่อเห็นว่ายิ่งเปียกน้ำยิ่งเหม็น ถามๆหมอพื้นบ้านท่านอื่นก้อได้ยินแต่ชื่อไม่มีใครเคยเห็นต้นมัน บางคนร้องว่าจะไปอยากรู้จักทำไมไม้นี้เผาไฟก้อยังเหม็นต้องฝังดินอย่างเดียว แหมเราก้ออยากรู้จักทุกต้นน่ะแหล่ะแต่ต้นนี้เค้าแปลกดีอ่ะอยากเห็นจังใครมีข้อมูลป่ะ
สอบถามไปทางอาจารย์หมอน้อยแห่งลพบุรีถึงรู้ว่าต้นมันมีอยู่ที่เขาสมโภชน์
อยากเห็นมากๆๆๆๆๆ ว่างงานเมื่อไหร่เจอกันแน่ แก้งขี้พระร่วง มารู้อีกทีว่ามีอยู่ที่เขาใหญ่ โคราชบ้านเอง รอให้หมดฝนก่อนนะจะเข้าไปลุย
ชื่อวิทยาศาสตร์ Celtis timorensis Span.
วงศ์ ULMACEAE
ชื่ออื่น กล้วย (จันทบุรี) ขี้พระร่วง มันปลาไหล (นครราชสีมา) เช็ดก้นพระเจ้า (น่าน) เช็ดขี้พระเจ้า (เชียงใหม่) ตะคาย มะหาดน้ำ เยื้อง หม่อนดง ตายไม่ทันเฒ่า (ภาคใต้)
ลักษณะ
เป็นไม้ต้น สูง 5–20 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงถึงค่อนข้างกลม เปลือกสีเทา เรียบ เปลือกชั้นในสีน้ำตาลคล้ำ กิ่งอ่อน ก้านใบ และช่อดอกมีขนนุ่มสั้นคลุม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 5–8 ซม. ยาว 8–15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเบี้ยว มน ถึงสอบกว้าง ขอบใบเรียบถึงหยัก ผิวใบเกลี้ยงถึงมีขนเล็กน้อยตามเส้นใบ มีเส้นใบหลัก 3 เส้นจากโคนใบ ก้านใบยาว 0.5–1 ซม. ดอก เล็ก ออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบ ผล รูปไข่ กว้างประมาณ 0.5 ซม. ยาวประมาณ 0.7 ซม. ปลายผลเป็นติ่งคล้ายง่ามหนังสติ๊ก ซึ่งเจริญมาจากปลายก้านเกสรเพศเมีย เมื่อสุกสีแดง
เป็นต้นไม้ใหญ่ ที่มีกลิ่นเหม็นมากๆยิ่งเปียกน้ำ ยิ่งส่งกลิ่นเหม็นเพิ่มมากขึ้น และถ้าเอาไปเผาไฟยิ่งเหม็น
แก้งขี้พระร่วงมีการกระจายพันธุ์ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ที่ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 150–600 ม. ในต่างประเทศพบที่ศรีลังกา บังคลาเทศ พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
ตำนานของไม้แก้งขี้พระร่วง
ครั้งหนึ่งพระร่วงประพาสป่าเสด็จไปลงพระบังคน เสร็จแล้วทรงหยิบไม้ใกล้ ๆ พระองค์มาชำระแล้วโยนทิ้งไป ไม้นั้นก็เกิดเป็นต้น มีพรรณแพร่หลายมาจนทุกวันนี้
สรรพคุณ
แต่มักนำมาปรุงเป็นยาขับพยาธิไส้เดือนในเด็ก
พ่อหมอพื้นบ้านมักใช้แก้งขี้พระร่วงเป็นไม้ไล่ปอบ ให้เหตุผลว่าคนยังเหม็น ปอบมันก็ไม่ทนดมกลิ่นเหมือนกัน

2#
 เจ้าของ| โพสต์ 2014-8-27 07:28 | ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
    

0
ชื่อที่เรียก
ต้นแก้งขี้พระร่วง
ชื่ออื่นๆ
กล้วย (จันทบุรี) ขี้พระร่วง มันปลาไหล (นครราชสีมา) เช็ดก้นพระเจ้า (น่าน) เช็ดขี้พระเจ้า (เชียงใหม่) ตะคาย มะหาดน้ำ เยื้อง หม่อนดง ตายไม่ทันเฒ่า (ภาคใต้)
หมวดหมู่ทรัพยากร
พืช
ลักษณะ
[size=+0]  [size=+0]แก้งขี้พระร่วงเป็นไม้ต้น[size=+0] [size=+0]สูง[size=+0] 5[size=+0][size=+0]20 [size=+0][size=+0]. [size=+0]เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงถึงค่อนข้างกลม[size=+0] [size=+0]เปลือกสีเทา[size=+0] [size=+0]เรียบ[size=+0] [size=+0]เปลือกชั้นในสีน้ำตาลคล้ำ[size=+0] [size=+0]กิ่งอ่อน[size=+0] [size=+0]ก้านใบ[size=+0] [size=+0]และช่อดอกมีขนนุ่มสั้นคลุม[size=+0] [size=+0]ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 58 ซม. ยาว 815 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเบี้ยว มน ถึงสอบกว้าง ขอบใบเรียบถึงหยัก ผิวใบเกลี้ยงถึงมีขนเล็กน้อยตามเส้นใบ มีเส้นใบหลัก 3 เส้นจากโคนใบ ก้านใบยาว 0.51 ซม. ดอก เล็ก ออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบ  ผล รูปไข่ กว้างประมาณ 0.5 ซม. ยาวประมาณ 0.7 ซม. ปลายผลเป็นติ่งคล้ายง่ามหนังสติ๊ก ซึ่งเจริญมาจากปลายก้านเกสรเพศเมีย เมื่อสุกสีแดง
ประโยชน์
นำมาปลูกเป็นาสวนไม้ประดับเพื่อความสวยงาม
แหล่งที่พบ
โรงพยาบาลพานทอง
ตำบล
พานทอง
อำเภอ
ศรีราชา
จังหวัด
ชลบุรี
ฤดูกาลใช้ประโยชน์
-
ศักยภาพการใช้งาน
-
ชื่อวิทยาศาสตร์
Celtis timorensis Span.
ชื่อวงศ์
ULMACEAE

ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ลงชื่อเข้าใช้ | ลงทะเบียน

รายละเอียดเครดิต

ตอบกระทู้ ขึ้นไปด้านบน ไปที่หน้ารายการกระทู้