ตั้งให้เราเป็นเว็บแรกที่คุณเลือก
เก็บเราไว้เป็นเว็บโปรด
สมัครสมาชิก ได้มากกว่าที่คุณคิด
เข้าสู่ระบบ
บ้านหลวงปู่
คศช.
ข่าวสารล่าสุด
ประสบการณ์
โชว์วัตถุมงคล
สอบถาม
นานาสาระ
นครนาคราช
ร่วมประมูล
บูชาวัตถุมงคล
เพื่อน
กระทู้แนะนำ
บุ๊คมาร์ก
ไอเท็ม
เหรียญ
ภารกิจ
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
ดูบริการทั้งหมด
เว็บบอร์ด
BBS
บูชาวัตถุมงคลหลวงปู่ชื่น
ศรีสุทธรรมนาคราช
ร้านจอมพระ
ศูนย์พระเครื่องจอมพระ
ค้นหา
ค้นหา
HOT TAG:
พระศรีราม
ขุนแผนแสนตรีเวทย์
พระเจ้าชัยวรมัน
บอร์ดนี้
บทความ
เนื้อหา
สมาชิก
Baan Jompra
›
นานาสาระ
›
ตำนาน เรื่องเล่า เกร็ดความรู้ เรื่องลี้ลับ
»
ความเป็นมาของลายไทย
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
ดู: 3343
ตอบกลับ: 1
ความเป็นมาของลายไทย
[คัดลอกลิงก์]
kit007
kit007
ออฟไลน์
เครดิต
32163
ไปยังโพสต์
1
#
โพสต์ 2014-8-25 13:01
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
|
โพสต์ใหม่ขึ้นก่อน
|
โหมดอ่าน
ความเป็นมาของลายไทย
ความเป็นมาของลายไทย
จากความเลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนา เป็นเหตุสำคัญให้ช่าง หรือศิลปินประดิษฐ์ลายไทยโดยได้แนวคิดมาจาก ดอกบัว พวงมาลัย ควันธูป และเปลวเทียน เป็นต้น นำมาสร้างสรรค์ให้เกิดเป็นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายกนก ลายเปลวเพลิง ลายใบเทศ ลายพฤษชาติ ฯลฯ. จึงได้มีการศึกษาถึงที่มาของลายต่าง ๆ ดังนี้ คือ
1.การพัฒนาลายมาจากดอกบัว
เป็นการนำรูปดอกบัวชนิดต่าง ๆ เช่น บัวหลวง บัวสัตตบงกช บัวสัตตบุษย์ ฯลฯ. มาพัฒนาโดยใช้จินตนาการเชิงสร้างสรรค์ด้วยการแบ่งครึ่งดอกบัว การรวมดอกบัวเข้าด้วยกันทำให้เกิดลายกนกสามตัวและคลี่คลายเป็นลายอื่น ๆ ต่อไป
2.การพัฒนามาจากลักษณะของเปลวไฟ
เป็นการนำลักษณะการเคลื่อนไหวของเปลวไฟ เช่น เปลวไฟของกองไฟ เปลวไฟของเทียนไข เปลวไฟของคบเพลิง ที่มีความพริ้วไหวมา สร้างสรรค์ให้เกิดลายที่สวยงาม
3.การพัฒนามาจากลักษณะของใบไม้
ส่วนมากจะเป็นใบ “ฝ้ายเทศ” เพราะเป็นใบไม้ที่มีรูปร่างรูปทรงที่สวยงาม มาสร้างสรรค์เป็นลายใบเทศ
4.การพัฒนามาจากลักษณะของดอกไม้
ได้แก่ ดอกพุดตาล ดอกจอก ดอกแก้ว ดอกมะลิ ดอกผกากรอง ดอกบานเย็น ดอกพังพวย เป็นต้น ซึ่งลายดอกไม้เหล่านี้จะเป็นส่วนหนึ่งของลายไทย
5.การพัฒนามาจากลักษณะของใบผัก
ที่นิยมใช้เขียนได้แก่ “ใบผักกูด” ซึ่งมีลักษณะกลมมล ไม่แหลมคม ช่างหรือศิลปินจึงนำมาสร้างสรรค์เป็นลวดลาย เช่น กนกผักกูด
บุ๊คมาร์ก
0
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
kit007
kit007
ออฟไลน์
เครดิต
32163
2
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2014-8-25 13:02
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
6.การพัฒนามาจากลักษะของเถาวัลย์และไม้เลื้อย
ทีมีการเกี่ยวพัน ลัดเลาะ การเลื่อนไหล ช่างหรือศิลปินจึงนำมาสร้างสรรค์ เป็นลายที่ต่อเนื่องกัน
การพัฒนามาจากลักษณะของสัตว์ ในลายไทยจะพบการผูกลายที่นำรูปแบบของสัตว์มาใช้ อาจเป็นรูปเหมือนจริงหรือดัดแปลงตามความคิดสร้างสรรค์ เช่น สัตว์ในป่าหิมพานต์
7.การพัฒนามาจากลักษณะของคน
เนื่องจากในอดีตศิลปะไทยไม่นิยมเขียนภาพแบบเหมือนจริงแต่อาจใช้ลักษณะของคนแทนรูปเคารพของเทพเจ้าต่าง ๆ ในศาสนา เช่น พระพรหม พระนารายณ์ พระอิศวร ฯลฯ ทำให้ภาพคนในลายไทยไม่มีการแสดงกล้ามเนื้อเหมือนกับศิลปะแบบตะวันตก แต่จะเป็นภาพหรือลายที่มีลักษณะอ่อนช้อย สวยงาม ตามจินตนาการ
8.การพัฒนามาจากอิทธิพลของศิลปกรรมต่างชาติ
ที่เด่นชัด ได้แก่ จีน ขอม เขมร เห็นได้จาก ลายฮ่อลายประแจจีน ลายใบแกนตัส ฯลฯ
เนื้อหาโดย: .*-+ทานุกิ+-*. หาภาพเองเลือดตาแทบกระเด็นT___T
ที่มา
http://board.postjung.com/798805.html
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
โหมดขั้นสูง
B
Color
Image
Link
Quote
Code
Smilies
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงชื่อเข้าใช้
|
ลงทะเบียน
รายละเอียดเครดิต
ตอบกระทู้
ข้ามไปยังโพสต์ล่าสุด
ตอบกระทู้
ขึ้นไปด้านบน
ไปที่หน้ารายการกระทู้
Share To Facebook
Share To Twitter
Share To Google+
Share To ...