ตั้งให้เราเป็นเว็บแรกที่คุณเลือก
เก็บเราไว้เป็นเว็บโปรด
สมัครสมาชิก ได้มากกว่าที่คุณคิด
เข้าสู่ระบบ
บ้านหลวงปู่
คศช.
ข่าวสารล่าสุด
ประสบการณ์
โชว์วัตถุมงคล
สอบถาม
นานาสาระ
นครนาคราช
ร่วมประมูล
บูชาวัตถุมงคล
เพื่อน
กระทู้แนะนำ
บุ๊คมาร์ก
ไอเท็ม
เหรียญ
ภารกิจ
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
ดูบริการทั้งหมด
เว็บบอร์ด
BBS
บูชาวัตถุมงคลหลวงปู่ชื่น
ศรีสุทธรรมนาคราช
ร้านจอมพระ
ศูนย์พระเครื่องจอมพระ
ค้นหา
ค้นหา
HOT TAG:
พระศรีราม
ขุนแผนแสนตรีเวทย์
พระเจ้าชัยวรมัน
บอร์ดนี้
บทความ
เนื้อหา
สมาชิก
Baan Jompra
›
นานาสาระ
›
ตำนานพระเกจิอาจารย์แห่งแดนสยาม
»
หลวงปู่รอด พุทฺธสณฺโฑ วัดบางน้ำวน จังหวัดสมุทรสาคร
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
ดู: 2055
ตอบกลับ: 2
หลวงปู่รอด พุทฺธสณฺโฑ วัดบางน้ำวน จังหวัดสมุทรสาคร
[คัดลอกลิงก์]
Metha
Metha
ออฟไลน์
เครดิต
54487
ไปยังโพสต์
1
#
โพสต์ 2014-6-6 00:01
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
|
โพสต์ใหม่ขึ้นก่อน
|
โหมดอ่าน
หลวงปู่รอด พุทฺธสณฺโฑ วัดบางน้ำวน จังหวัดสมุทรสาคร
บุ๊คมาร์ก
0
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Metha
Metha
ออฟไลน์
เครดิต
54487
2
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2014-6-6 00:23
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
เมืองมหาชัยหรือจังหวัดสมุทรสาครนี้มี
พระเกจิอาจารย์
เก่งๆ อยู่หลายท่านด้วยกัน จะมาเล่าถึง
หลวงปู่รอด
วัดบางน้ำวน
ซึ่งเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากในอดีต
พระเครื่อง
และ
วัตถุมงคล
ของท่านก็ได้รับความนิยมกันมาก เนื่องจากมีประสบ การณ์ต่างๆ มากมายเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้คนโดยทั่วๆ ไป
หลวงปู่รอด ท่านเป็นชาวบ้านบางโทรัด มีเชื้อสายรามัญ ท่านเกิดเมื่อปี พ.ศ.2406 โยมบิดาชื่อ ทองดี โยมมารดาชื่อ เกษร เมื่อตอนที่ท่านเด็กๆ ท่านมีร่างกายอ่อนแอขี้โรค บิดา-มารดาจึงได้นำท่านไปถวายเป็นบุตรบุญธรรมของ พระอุปัชฌาย์แค วัดบางน้ำวน ซึ่งท่านเป็นพระเถระที่มีเชื้อสายรามัญ และเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวรามัญในสมัยนั้น หลังจากที่บิดา-มารดาของหลวงปู่รอด ได้ยกท่านให้แก่พระอุปัชฌาย์แคแล้ว ปรากฏว่าหลวงปู่รอดท่านก็เป็นเด็กที่เลี้ยงง่ายหายจากโรคภัยนานา พระอุปัชฌาย์แค จึงตั้งชื่อให้ท่านว่า "รอด" ตั้งแต่บัดนั้นมา พอท่านอายุได้ 12 ปี ก็ได้บรรพชาเป็นสามเณร อยู่ศึกษาเล่าเรียนกับพระอุปัชฌาย์แค วัดบางน้ำวนจนกระทั่งอายุครบ 20 ปี จึงได้อุปสมบทที่วัดบางน้ำวน โดยมีพระอุปัชฌาย์แค เป็นพระอุปัชฌาย์ และได้รับฉายาว่า "พุทฺธสณฺโฑ"
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Metha
Metha
ออฟไลน์
เครดิต
54487
3
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2014-6-6 00:26
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
เมื่ออุปสมบทแล้วก็ได้ปรนนิบัติรับใช้พระอุปัชฌาย์ และศึกษาวิทยาคมต่างๆ จากพระอุปัชฌาย์แค หลวงปู่รอดท่านเป็นพระที่รักสงบมุ่งปฏิบัติอย่างเคร่งครัด วิชาที่ท่านเรียนกับพระอุปัชฌาย์แคก็คือ เมตตามหานิยม คงกระพันชาตรี วิชาทำธงไม่ให้ฝนตก และป้องกันฟ้าผ่า วิชาเสก ของหนักให้เบาดั่งปุยนุ่น ฯลฯ นอกจากท่านจะเรียนวิทยาคมแล้ว ท่านก็ยังเรียนวิปัสสนากรรมฐานอีกด้วย จนเป็นที่ไว้ใจของพระอุปัชฌาย์ หลังจากที่พระอุปัชฌาย์แคมรณภาพท่านก็ได้รับนิมนต์จากชาวบ้านขอให้ท่านเป็นเจ้าอาวาสสืบแทน
ชาวบ้านเลื่อมใสศรัทธาต่อท่านเป็นทุนเดิมอยู่แล้วจึงมาช่วยกันบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามจนเจริญรุ่งเรืองมาจนทุกวันนี้ นอกจากจะพัฒนาวัดของท่านแล้วท่านยังช่วยเหลือวัดอื่นๆ อีกด้วย เรื่องของการศึกษาท่านก็ได้จัดให้มีการสอนพระปริยัติธรรมและสร้างโรงเรียนประชาบาลให้เด็กๆ ในแถบนั้นได้ศึกษาเล่าเรียนชื่อ "โรงเรียนรอดพิทยาคม" ในปีพ.ศ.2439 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดบางน้ำวน ปี พ.ศ.2447 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลบางโทรัด ปีพ.ศ.2452 ได้รับพระราชทานตราตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2482 ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครูชั้นประทวน และเป็นกรรมการศึกษา หลวงปู่รอดท่านมรณภาพในปีพ.ศ.2488 สิริอายุได้ 82 ปี พรรษาที่ 62
หลวงปู่รอด
ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ที่เก่งกล้าทางด้านวิทยาคมมาก ท่านได้สร้าง
เครื่องรางของขลัง
ไว้หลายอย่างเช่น
ตะกรุด
โทน สิงห์ไม้แกะ เหรียญหล่อเหรียญปั๊มรุ่นแซยิด เหรียญหล่อพิมพ์พนมมือ เหรียญปั๊มพิมพ์เสมาอัลปาก้า เป็นต้น และในวันนี้ผมได้นำวัตถุมงคลต่างๆ ของหลวงปู่รอดมาให้ชมกันครับ
หมายเหตุ รูปวัตถุมงคลจากหนังสือตามรอยตำนาน สุดยอดอมตะภาพถ่าย 108 คณะคณาจารย์
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
โหมดขั้นสูง
B
Color
Image
Link
Quote
Code
Smilies
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงชื่อเข้าใช้
|
ลงทะเบียน
รายละเอียดเครดิต
ตอบกระทู้
ข้ามไปยังโพสต์ล่าสุด
ตอบกระทู้
ขึ้นไปด้านบน
ไปที่หน้ารายการกระทู้
Share To Facebook
Share To Twitter
Share To Google+
Share To ...