ภาพวาดจำลองปรากฏการณ์ขณะดาวหางเฉียดใกล้ดาวอังคาร Kim Poor (สเปซด็อทคอม)สำหรับบางคนแม้ในยามไม่มีปรากฏการณ์ใดๆ แต่การได้เฝ้ามองท้องฟ้าก็เป็นความอัศจรรย์ใจอยู่เสมอ ยิ่งมีปรากฏการณ์ที่ไม่เกิดขึ้
20 มี.ค.ดาวเคราะห์น้อยความสว่าง “ดาวหัวใจสิงห์”ในวันที่ 20 มี.ค. หนึ่งในดวงดาวที่ส่องสว่างมากที่สดในท้องฟ้าอย่างดาวหัวใจสิงห์ (Regulus) ซึ่งอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต (Leo) จะถูกบดบังรัศมีโดยดาวเคราะห์น้อย
14-15 เม.ย.ค่ำคืน M&Mที่ชื่อว่าคืน M&M เพราะ “มาร์” และ “มูน” หรือดาวอังคารและดวงจันทร์จะสร้างปรากฏการณ์บนท้องฟ้าในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยเริ่มจากดาวอังคารที่จะเข้าใกล้โลกมากที่สุดในวันที่ 14 เม.ย.ที่ระ
28-29 เม.ย.เกิด “วงแหวนแห่งไฟ” เหนือแอนตาร์กติกา ปรากฏการณ์ “วงแหวนแห่งไฟ” หรือสุริยุปราคาวงแหวนจะเกิดขึ้นบริเวณที่ไร้คนอาศัยในวิลคส์แลนด์ (Wilkes Land) ของทวีปแอนตาร์กติกา ระหว่างวันที่ 28-29 เม.ย.
24 พ.ค. อาจมีฝนดาวตกจากสายธารดาวหาง เป็นไปได้ว่าในวันที่ 24 พ.ค.นี้อาจจะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกที่สว่างสดใสในวันที่ 24 พ.ค. เนื่องจากคาดว่าโลกของเราจะเคลื่อนผ่านเข้าไปสายธารฝุ่นปริมาณมหาศาลที่ดาวหาง P/
11 ส.ค.เกิด “ซูเปอร์มูน”ในวันที่ 11 ส.ค.ดวงจันทร์จะเต็มดวงตอน 02.09 น.ตามเวลาประเทศไทย ดวงจันทร์จะเข้าสู่ระยะเต็มดวง ซึ่งเกิดขึ้นล่วงหน้าเพียง 9 นาที ก่อนที่ดวงจันทร์จะเข้าสู่ตำแหน่งใกล้โลกที่สุดในป
18 ส.ค.สองดาวเคราะห์ “ศุกร์-พฤหัส” สุกสว่างเคียงกัน ในวันที่ 18 ส.ค. ท้องฟ้าด้านล่างของทิศตะวันออกเฉียงเหนือเยื้องมาทางตะวันออก ดาวเคราะห์ที่สุกสว่าง 2 ดวง คือ ดาวศุกร์ และ ดาวพฤหัสบดีจะอยู่ใกล้กันมา
8 ต.ค.จันทรุปราคาเต็มดวง จะเกิดจันทรุปราคาอีกครั้งสำหรับปี 2014 ในวันที่ 8 ต.ค.โดยพื้นที่ที่จะได้เห็นคือทางซีกตะวันตกของอเมริกาเหนือ หมู่เกาะฮาวาย เอเชียตะวันออก อินโดนีเซีย นิวซีแลนด์ และทางซีกตะวัน
19 ต.ค.ดาวหางเฉียดดาวอังคาร ในวันที่ 19 ต.ค. ดาวหาง C/2013 เอ1 (C/2013 A1) หรือซิดิงสปริง (Siding Spring) ที่ค้นพบโดย โรเบิร์ต เอช.แมคนอต (Robert H. McNaught) จากหอดูดาวซิดิงสปริง (Siding Spring Obse
- อ้างถึง
23 ต.ค. สุริยุปราคาบางส่วน วันที่ 23 ต.ค.จะเกิดสุริยุปราคาบางส่วนจากการที่เงามัว (penumbral shadow) พาดผ่านพื้นที่ส่วนใหญ่ของอเมริกาเหนือ และบางส่วนทางตะวันออกของไซบีเรีย โดยบริเวณที่เกิดคราสบังดวงอาทิตย์