ตั้งให้เราเป็นเว็บแรกที่คุณเลือก
เก็บเราไว้เป็นเว็บโปรด
สมัครสมาชิก ได้มากกว่าที่คุณคิด
เข้าสู่ระบบ
บ้านหลวงปู่
คศช.
ข่าวสารล่าสุด
ประสบการณ์
โชว์วัตถุมงคล
สอบถาม
นานาสาระ
นครนาคราช
ร่วมประมูล
บูชาวัตถุมงคล
เพื่อน
กระทู้แนะนำ
บุ๊คมาร์ก
ไอเท็ม
เหรียญ
ภารกิจ
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
Site Link
ดูบริการทั้งหมด
เว็บบอร์ด
BBS
บูชาวัตถุมงคลหลวงปู่ชื่น
ศรีสุทธรรมนาคราช
ร้านจอมพระ
ศูนย์พระเครื่องจอมพระ
ค้นหา
ค้นหา
HOT TAG:
พระศรีราม
ขุนแผนแสนตรีเวทย์
พระเจ้าชัยวรมัน
บอร์ดนี้
บทความ
เนื้อหา
สมาชิก
Baan Jompra
›
นานาสาระ
›
มรดกขลัง หลากหลายเกจิอาจารย์
»
พระประทับสิงห์
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
ดู: 3464
ตอบกลับ: 5
พระประทับสิงห์
[คัดลอกลิงก์]
Sornpraram
Sornpraram
ออฟไลน์
เครดิต
36164
ไปยังโพสต์
1
#
โพสต์ 2013-11-1 07:16
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
|
โพสต์ใหม่ขึ้นก่อน
|
โหมดอ่าน
วัด และพระเครื่อง..ส่วนมากจะมีสิงห์ เฝ้าประตู มีผู้ถอดความหมายไว้สาม
1.พุทธเจ้า ประกาศศาสนา(บรรลือสีหนาถ)
-เราตัรสรู้ชอบด้วยตนเอง
-เราทำอาสวะสิ้นแล้ว
-ผู้ปฏิบัติตามเรามีอยู่(มีพระอริยบุคคลอยู่ในโลก เพราะปฏิบัติตามคำสั่งสอน)
-ธรรมะเราจำแนก แจกแจงไว้ดีแล้ว
ด้วยเหตุทั้งสี่ เราจึงประกาศธรรมด้วยความกล้าหาญดังราชสีห์ คำรน ฉะนี้
2.พระเจ้าอโศก ทรงใช้ประกาศธรรมจักร แทนพิชิตด้วยอาวุธ
ธงค์ประจำพระองค์ คือราชสีห์
3.นามธรรมคือความคิด ต้องเฝ้าคัดเลือก สิ่งดีๆ เย็น
ให้แก่ชีวิต
สาธุ
บุ๊คมาร์ก
0
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
sriyan3
sriyan3
ออฟไลน์
เครดิต
2969
2
#
โพสต์ 2013-11-1 09:04
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
พระงามมากคร้าบ
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Nujeab
Nujeab
ออฟไลน์
เครดิต
27800
3
#
โพสต์ 2013-11-1 12:05
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
สาธุ สาธุ สาธุ
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
lnw
lnw
ออฟไลน์
เครดิต
1686
4
#
โพสต์ 2015-5-11 17:11
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Nujeab
Nujeab
ออฟไลน์
เครดิต
27800
5
#
โพสต์ 2017-5-16 15:49
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
ตอบกลับ
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
Sornpraram
Sornpraram
ออฟไลน์
เครดิต
36164
6
#
เจ้าของ
|
โพสต์ 2017-12-4 06:10
|
ดูเฉพาะโพสต์สมาชิกนี้
พระสมเด็จขี่สิงห์ หลวงพ่อชื่น วัดกลางคูเวียง
อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
"หลวงพ่อชื่น เขมจารี" อดีตเจ้าอาวาสวัดกลางคูเวียง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน ต.สัมปทวน อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม
เป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง อีกทั้งเป็นหมอยาตำรับแผนโบราณ รักษาให้กับคนทั่วไปโดยไม่ได้เรียกร้องค่าตอบแทน ประวัติหลวงพ่อชื่น เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 19 พ.ค.2445 ที่บ้านกลาง หมู่ 3 ต.สัมปทวน อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม เป็นบุตรของนายฝอยและนางวัน ทุยเวียง ประกอบอาชีพทำนา เมื่ออายุ 21 ปี เข้าพิธีอุปสมบทที่วัดสัมปตาก ซึ่งอยู่ใกล้กับวัดกลางคูเวียง เมื่อวันที่ 14 พ.ค.2465 โดยมีพุทธวิถีนายก (หลวงปู่บุญ ขันธโชติ) วัดกลางบางแก้ว เป็นพระอุปัชฌาย์, พระปลัดหล่อ วัดกลางบางแก้ว เป็นพระกรรม วาจาจารย์ และพระอธิการมา วัดลานตากฟ้า เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า เขมจารี หลังจากนั้น ท่านได้มาจำพรรษาอยู่วัดกลางคูเวียง โดยได้ศึกษาพระปริยัติธรรม พร้อมกับศึกษาการแพทย์แผนโบราณ ท่านมีความรู้ทางอักษรไทย และภาษามคธ แตกฉานในอรรถธรรม ต่อมาได้ไปศึกษาภาษาขอมและวิทยาคมกับหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ได้เรียนคู่กับ หลวงพ่อเพิ่ม วัดกลางบางแก้ว นอกจากนี้ ยังมีความรู้พิเศษในทางวิปัสสนาธุระเป็นอย่างดียิ่ง
ต่อมาเมื่อวันที่ 12 เม.ย.2472 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดกลางคูเวียง และเริ่มก่อสร้างบูรณปฏิสังขรณ์สิ่งต่างๆ รวมทั้งเริ่มรักษาโรคให้ชาวบ้านที่ได้รับความเจ็บป่วย โดยมิได้เรียกค่ารักษาใดๆ สำหรับตำรับตำรายารักษาโรคเหล่านั้น ท่านศึกษาเล่าเรียนจาก "หมอเทียนสาลีเวียง" หมอโบราณที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องการรักษาโรค การดูฤกษ์ยาม ทำนายโชคชะตา ครั้นถึง พ.ศ.2479 ท่านได้หาเงินสร้างอุโบสถใหม่แทนหลังเดิม ซึ่งเป็นโบสถ์ที่ทำด้วยไม้กระดาน ชำรุดจนไม่สามารถใช้ทำสังฆกรรม พร้อมกับสร้างพระประธานองค์ใหม่ พระอัครสาวก พระโมคคัลลานะ พระสารีบุตร ต่อมาท่านซื้อที่ดินขยายเขตวัดออกไปอีกทางด้านเหนือ เพื่อใช้เป็นที่ปลูกสร้างโรงเรียนประชาบาล คือ โรงเรียนวัดกลางคูเวียง (พันธุลาภอนุสรณ์) ซึ่งแต่เดิม ต้องอาศัยศาลาการเปรียญของวัดเป็นที่ศึกษาเล่าเรียน อีกทั้ง ท่านยังได้ก่อสร้างกุฏิขึ้นอีกหลายหลัง โดยเป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด และลงมือทำเองอีกด้วย หลวงพ่อชื่น เริ่มสร้างพระเครื่องและวัตถุมงคลเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2479 ซึ่งเป็นปีที่ท่านสร้างโบสถ์หลังใหม่ทดแทนโบสถ์หลังเดิมที่เป็นไม้ โดยสร้างวัตถุมงคลเนื้อชินผสมดีบุกใช้มวลสารหลักจากเงินเก่าที่อยู่ในหลุมลูกนิมิตโบสถ์หลังเดิม สร้างขึ้น 4 รูปแบบ คือ พระปิดตา พระนางพญา พระปางลีลา และนางกวัก ต่อมาในปี พ.ศ.2481 สร้างวัตถุมงคล "รุ่นอินโดจีน" ซึ่งถือว่าเป็นรุ่น 2 เพื่อนำรายเป็นทุนสร้างศาลาการเปรียญ และซื้อที่ดินขยายเขตวัดเพิ่ม
วัตถุมงคลที่สร้างขึ้นมีเสื้อยันต์ ผ้ายันต์วัวธนู พระสมเด็จผงพุทธคุณ พระหลวงพ่อโตซุ้มเถาวัลย์เนื้อดิน และเครื่องรางรูปเสือ เนื้อผงพุทธคุณ หลังจากปี พ.ศ.2481 ท่านสร้างวัตถุมงคลอีกหลายรูปแบบโดยเจตนาเพื่อบรรจุกรุ อาทิ เครื่องรางรูปเสือ สิงห์ พระสมเด็จ พระสมเด็จทรงสิงห์
โดยสร้างด้วยเนื้อผงเป็นหลัก แต่ท่านได้แกะพิมพ์ และกดพิมพ์พระด้วยตัวเอง ในปี พ.ศ.2506 สร้างเหรียญรูปเหมือนด้วยเนื้อทองแดงผิวไฟ ท่านได้จารด้วยตัวเองทุกเหรียญ ถือเป็นเหรียญรุ่นแรกและรุ่นเดียว กล่าวขวัญกันว่า เครื่องรางของขลังและวัตถุมงคลของหลวงพ่อชื่น มีพุทธคุณโดดเด่นในด้านแคล้วคลาดปลอดภัย และคงกระพัน พ.ศ.2506 หลวงพ่อชื่น ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตรที่ "พระครูโสภณสาธุการ"
ในช่วงท้ายของชีวิต ท่านเผยแผ่พระธรรมวินัยให้แก่พุทธบริษัท นำไปปฏิบัติเพื่อเป็นการปลูกศรัทธา ตลอดจนได้รักษาโรคให้กับผู้เจ็บป่วยอย่างมิเห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย กระทั่งหลวงพ่อชื่น มรณภาพลงอย่างสงบ เมื่อวันที่ 21 เม.ย.2514 เวลา 20.05 น. สิริอายุ 69 ปี พรรษา 49 ในช่วงเวลาที่ตั้งศพบำเพ็ญกุศล มีผู้มีจิตศรัทธาและและเคารพเลื่อมใสท่าน จับจองเป็นเจ้าภาพสวดพระอภิธรรมเกินกว่า 100 วัน กาลต่อมา หลวงพ่อเชิญ ในฐานะศิษย์เอก เป็นผู้สืบทอดเจตนารมณ์ของหลวงพ่อชื่น ด้วยการก่อสร้างกุฏิโสภณสาธุการ เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งคุณงามความดี
พร้อมกับสร้างเจดีย์ทองบรรจุศพหลวงพ่อชื่น ภายในกุฏิ เพื่อให้บรรดาผู้ที่เคารพเลื่อมใสได้มากราบไหว้บูชาเป็นสิริมงคล
โดยได้ทำพิธีบรรจุศพหลวงพ่อไว้ในพระเจดีย์ทอง เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 ส.ค.2524 เวลา 09.29 น.
ทุกปีในวันที่ 21 เม.ย. วัดกลางคูเวียง จัดงานคล้ายวันมรณภาพของหลวงพ่อชื่น
เพื่ออุทิศส่วนกุศลและรำลึกถึงคุณงามความดี
ตอบกลับ
สนับสนุน
คัดค้าน
ใช้ไอเท็ม
รายงาน
กลับไป
ตั้งกระทู้ใหม่
โหมดขั้นสูง
B
Color
Image
Link
Quote
Code
Smilies
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงชื่อเข้าใช้
|
ลงทะเบียน
รายละเอียดเครดิต
ตอบกระทู้
ข้ามไปยังโพสต์ล่าสุด
ตอบกระทู้
ขึ้นไปด้านบน
ไปที่หน้ารายการกระทู้
Share To Facebook
Share To Twitter
Share To Google+
Share To ...