6. กริชแบบปัตตานี ด้ามทำเป็นรูปนกพังกะ ใบกริชยาวกว่าชนิดอื่นๆ กริชสกุลช่างปัตตานี ด้ามทำเป็นรูปนกพังกะ (ที่มาภาพ: หน้า 15 (กริช). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ฉบับต้นแบบ ) กริชแดแบ๊ะ สกุลช่างปัตตานีนิยมใช้ในหมู่ควาญช้างไทยมุสลิม กริชสกุลช่างปัตตานี หรือกริชตะยง ใบกริชรูปใบปรือเซาะร่อง(จิตอ) ด้ามแบบหัวนกพังกะตัวผู้ ฝักแบบปัตตานี ( ที่มาภาพ: หน้า 16 (กริช ). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ ฉบับต้นแบบ ) กริชสุกลช่างปัตตานี ใบกริชตรงเซาะร่อง(จิตอ)ด้ามแบบหัวนกพังกะตัวผู้หรือแบบตะยงแกะสลักเลี่ยมทองนาคและเงิน ฝักแบบปัตตานี ( ที่มาภาพ: หน้า 23 (กริช ). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ ฉบับต้นแบบ ) กริชสกุลช่างปัตตานีใบกริชเป็นของสกุลช่างบูกิสมี 11 คด ด้ามหัวนกพังกะ ฝีมือช่างชั้นสูงมีส่วนประกอบนาคและทองในการตกแต่งเป็นกริชของชนชั้นสูงระดับเจ้าเมืองหรือเชื้อพระวงศ์ ( ที่มาภาพ: หน้า 34 (กริช ). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ ฉบับต้นแบบ ) กริชสกุลช่างปัตตานีใบกริช 7 คดเซาะร่อง(จิตอ) ด้ามแบบหัวนกพังกะตัวผู้ ฝักแบบปัตตานีหรือแบบตะยง ( ที่มาภาพ: หน้า 24 (กริช ). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ ฉบับต้นแบบ ) กริชแดแบ๊ะปัตตานี ใบกริชตรงชนิดปะแนซาฆะห์สกุลช่างปัตตานี ด้ามแดแบ๊ะ ฝักแบบตรังกานู ( ที่มาภาพ: หน้า 25 (กริช ). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ ฉบับต้นแบบ ) กริชสกุลช่างสงขลา หรือ กริชหัวนกพังกะตัวเมีย ใบกริชรูปใบปรือ(กริชสะปูกัล) ด้ามรูปนกพังกะตัวเมีย ฝักแบบนกพังกะตัวเมียหรือแบบนกพังกะเมืองสงขลา มาลายูเรี่ยกว่า แบบออแรซิแย(แบบชาวสยาม) ( ที่มาภาพ: หน้า 24 (กริช ). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ ฉบับต้นแบบ ) กริชสกุลช่างสงขลา หรือ กริชหัวนกพังกะตัวเมีย ใบกริช 7 คด ด้ามรูปนกพังกะตัวเมีย ฝักแบบนกพังกะเมืองสงขลา ( ที่มาภาพ: หน้า 25 (กริช ). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ ฉบับต้นแบบ ) กริชสกุลเมืองสงขลา ใบกริชคดรูปแบบสุมาตรา(อาเนาะแล)ด้ามรูปนกพังกะตัวเมีย เป็นของบุคคลชั้นสูง ( ที่มาภาพ: หน้า 35 (กริช). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ฉบับต้นแบบ )
|